วันอังคารที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2559

นวัตกรรมดับเพลิงของ Pyrogen (ไพโรเจน) aerosol fire-extinguishing agent





"The new technology in fire suppression "
"Simply better than HALON"

     คำกล่าวนี้อาจกล่าวได้ถูกต้องเพราะ เครื่องดับเพลิง HALON ที่ถูกห้ามใช้งานไปนั้น มีสาร CFC หรือสารคาร์โรฟลูออโรคาร์บอน เป็นสารประกอบที่มนุษย์สร้างขึ้นมิได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีแหล่งกำเนิดจากโรงงานอุตสาหกรรมและอุปกรณ์เครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ แอร์ในรถยนต์ และจากสเปรย์ฉีดพ่น สาร CFC มีองค์ประกอบเป็น คลอรีน ฟลูออไรด์ และโพรวีน ซึ่งเป็นสารที่สามารถทำลายโอโซนชั้นบรรยากาศของโลกได้ ส่งผลให้รังสีอัลตราไวโอเลตหรือรังสียูวี ส่งมายังโลกได้มากกว่าปรกติและเป็นอันตรายต่อมนุษย์ เช่น ก่อให้เกิดเป็นมะเร็งผิวหนังได้

อุปกรณ์ดับเพลิง PYROGEN (ย่อมาจาก Pyrotechnically Generated ซึ่งแปลว่า การสร้างพลุ) ซึ่งมีสารดับเพลิงที่ไม่นำไฟฟ้า ได้รับการประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมาจากแนวความคิดของเชื้อเพลิงที่ใช้ในจรวด โดยเมื่อเก็บรักษาจะอยู่ในรูปของแข็ง ต่อเมื่อใช้งานหรือทำปฏิกิริยา ก็จะกลายสภาพเป็นส่วนผสมของก๊าซ มีลักษณะการกระจายทั่วทิศทางจนเต็มพื้นที่ป้องกัน
PYROGEN มีลักษณะเป็นถังสามารถทำงานคือฉีดสารดับเพลิงออกมาได้ด้วยตัวของมันเอง จัดว่าเป็นสารดับเพลิงที่มีประสิทธิภาพสารหนึ่งที่นำมาใช้ทดแทน HALON ที่ถูกห้ามใช้งานไป

ข้อดี PYROGEN

3 TIMES MORE EFFECTIVE THAN HALON
• ประสิทธิภาพการดับเพลิงที่ดีกว่า HALON 3 เท่า


ZERO PRESSURE STORAGE
• ไม่รั่วเพราะไม่ต้องเติม
• ทำให้ง่ายต่อการขนย้ายและติดตั้ง
• ทำให้ง่ายที่จะไปวางในที่ต้องการป้องกันไฟไหม้
NO MECHANICAL MOVING PARTS
• ไม่มีวาล์วสำหรับปรับแรงดัน
• Only electrical circuit check required*


NO ELECTRICAL SUPPLY REQUIRED
• ไม่มีส่วนที่ต้องจ่ายไฟฟ้าเพื่อให้ทำงาน


 


100% ENVIRONMENTLY FRIENDLY
• PyroGen is zero ODP and GWP
• Listed by US EPA





NO PIPEWORK OR MANIFOLD
• No requirement for pipes, nozzles or distribution hardware
• Simple to install & commission

HUGE SPACE SAVING
• Smallest & lightest fire extinguishing system
• Most compact when compared size for size with other fire extinguishing systems  (please see chart on the left)






Comparison Table
Agent Formula % Toxicity GDP GWP
(100yrs vs. C02 = 1)
Atmospheric lifetimes
(yrs)
Extinguishing Concentration
(Class B Fires)

%v.v.                g/m3
Mechanisim of Fire Suppression
PYROGEN KN03
Plasticised Nitrocellulose
Carbon
Admixtures
62.3%
12.7%
9%
16%
Low* 0 0 0 - 100 Chemical
Halon 1301 CBrF3 Low 10 5600 65 5 330 Chemical
FM-200 CF3CHFCF3 Low 0 2900 36.5 7 530
NAF S III CHCI2CF3
CHCLF2
CHClFCF3
4.75%
82%
9.5%
Low 0.036 1450 12 11.9 530 Physical
FE-13 CHF3 Low 0 11700 264 16-18 470 Physical
FE-25 CHF2CH3 Low 0 2800 32.6 10.9 580 Physical
Argonite N2
Ar
50%
50%
Low 0 0 0 33.6 600 Physical
Argotec Ar 100% Low 0 0 0 38 500 Physical
Inergen N2
Ar
CO2
52%
40%
8%
Low 0 0 0 37.5 500 Physical
Carbon dioxide CO2 100% High 0 - - 50 900 Physical
Water H20 Nil 0 0 0 - - Physical
Chemical Powders Low 0 0 0 - 1400-1800 Chemical or Physical


Comparison Table
Trade Name
Designation
Global Warming
Potential**
Atmospheric
Lifetime (yrs)
PyroGen 0 0
FE-13*HFC 23 11,700264
FE - 125* HFC 125 2,80033
FM - 200* HFC 227 EA 2,90037
FE - 36* HFC 236fa 6,300209
Inergen*IG - 541 0.08Permanent gas
NAF SIII HCFC Blend A 1,45012





* Data from the above table was originally published by DETR/DTI to provide guidance to industry.
** @ 100yr. time horizon, relative to CO2=1



PYROGEN มีลักษณะเป็นถังสามารถทำงานคือฉีดสารดับเพลิงออกมาได้ด้วยตัวของมันเอง ใช้หลักการดับเพลิงทางเคมี โดยใช้กระแสไฟฟ้าหรือความร้อนเพื่อทำให้สารที่อยู่ในรูปของแข็งเกิดปฏิกิริยาเคมี กลายสภาพเป็นส่วนผสมของควันและก๊าซฉีดออกมาด้วยแรงดันจาก ตัวถังฟุ้งกระจายไปทั่วปริมาตรของห้องที่ต้องการดับเพลิง โดยในส่วนของควันที่เกิดขึ้นมีส่วนผสมหลักเป็นอนุภาคของ โปแตสเซียมคอร์บอเนต ที่มีขนาดอนุภาคใกล้เคียงกับอากาศ ส่วนที่เป็นก๊าซเป็นส่วนผสมของก๊าซาร์บอนไดออกไซด์, ก๊าซไนโตรเจนและไอน้ำรวมอยู่ด้วยกัน หรือเราอาจเรียกส่วนผสมของก๊าซและควันดังกล่าวว่า aerosol จะถูกฉีดออกมานอกถังจะถูกดูดซับความร้อนที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเคมีด้วย Chemical Coolant ที่ถูกบรรจุอยู่ในถัง Pyrogen

 Pyrogen generator in action
3 potential methods of activation
Aerosol generated
Aerosol distributed


การทำงานของPyrogen

1. เปิดทำงานของ Pyrogen มี 3 วิธี
  1. Electrical signal from control panal.(ส่งสัญญาณเปิดจากตัวสั่งการ)
  2. Canister heated > 500 ํC .(ตัวถังอุณหภูมิสูงกว่า 500 ํC)
  3. Naked Flame or heat > 175 ํC  via fire conducting cord. (ไฟถูกจุดที่ตัวจุดพลุอุณหภูมิสูงกว่า 175 ํC)
2. เกิดการทำปฏิกิริยาเคมีโดยกระบวนการ Aerosol 

3. Aerosol แพร่กระจาย

 
  การติดไฟ (ก่อนพูดถึงการดับไฟของAerosol)
องค์ประกอบของไฟมี  3 อย่าง
  1. ออกซิเจน ( Oxygen )ไม่ต่ำกว่า 16 % (ในบรรยากาศ  ปกติจะมีออกซิเจนอยู่ประมาณ 21 %)
  2. เชื้อเพลิง ( Fuel )  ส่วนที่เป็นไอ (เชื้อเพลิงไม่มีไอ ไฟไม่ติด)
  3. ความร้อน ( Heat ) เพียงพอทำให้เกิดการลุกไหม้
ไฟจะติดเมื่อองค์ประกอบครบ 3 อย่าง  ทำปฏิกิริยาทางเคมีต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ ( Chain Reaction )
  
วิธีการดับไฟจึงมีอย่างน้อย  3  วิธี คือ
  1. ทำให้อับอากาศ ขาดออกซิเจน
  2. ตัดเชื้อเพลิง กำจัดเชื้อเพลิงให้หมดไป
  3. ลดความร้อน ทำให้เย็นตัวลง                                                                                                          
ถ้าหากเราตัดองค์ประกอบของไฟอย่างใดอย่างหนึ่งออกไฟก็จะดับลงได้ ซึ่งควรดับให้สนิทเพราะเมื่อเวลาผ่านไปองค์ประกอบทั้ง3อย่างกับมารวมกันอีก ครั้ง ไฟก็จะลุกขึ้นมาติดได้อีก


 Pyrogen aerosol is a chemical agent  (กระบวนการดับไฟของ Aerosol)
Stage1
Fire is propagated by the
'flame chain carriers' O, H & OH

Stage 1. จะพูดถึงการติดไฟเกิดจากการทำปฏิกิริยาเคมีลูกโซ่ ของ O, H & OH

Stage 2
Pyrogen aerosol introduces potassium radicals (K)
into the flame chain reaction
 Stage 2. จะพูดถึงอนุมูลโพแทสเซียมที่เกิดจากการปฏิกิริยาAerosol จาก Pyrogen



Stage 3
K radicals attach themselves to O, H & OH and remove them
from the flame chain without depleting oxygen
  Stage 3. กล่าวว่าอนุมูลโพแทสเซียมจะดึง O, H & OH จากวงจรปฏิกิริยาเคมีลูกโซ่



ระบบไพโรเจน มี 2 แบบ  


1. PyroGen Total Flooding System (TFS) (ติดทั้งห้อง)


stage1
- Fire outbreak in electrical control panel Propagation to Secondary & Tertiary Fire

stage2
- Heat/smoke detectors activated.
- Signal transmitted to control panel (pre-discharge countdown)
- Sequence activated -30 sec.

stage3
- PyroGen unit discharged FIRE EXTINGUISHED
ติดตั้่งแบบ TFS

Areas protected include พื่นที่เหมาะสำหรับระบบนี้ :
  •     Cargo Compartments
  •     Data Rooms
  •     Electrical Substations
  •     Cable Tunnels
  •     Generator Rooms
  •     Intelligent Buildings
  •     Laboratories
  •     Machinery Spaces
  •     Raised-Floors
  •     Telecommunication Cabins
2. PyroGen Direct-to-Source System (DTS)(ติดเฉพาะจุด)


stage1
- Fire outbreak in electrical control panel

stage2
- DTS canister unit activated automaticlly
- FIRE EXTINGUISHED
- Spread of fire CONTAINED

stage3
- Minimal collateral damage
- Minimal downtime

ติดตั่งแบบ DTS
Areas protected include พื่นที่เหมาะสำหรับระบบนี้ :
  • Computer Server Racks
  • Distribution Boards
  • LV & HV Switch Gear Panels
  • Electrical Control Cabinets
  • Engine Compartments
  • Machinery Compartments
  • Metering Panels
  • Mining and Earthmoving equipments
  • TNB Feeder Pillars

มาตรฐาน Pyrogen ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสากลต่างๆ

Australia/New Zealand Standard “Pyrogen Fire Extinguishing Aerosol Systems
No. AS/NZS 4487:1997 ซึ่งเป็นมาตรฐานของประเทศออสเตรเลีย

ผลการทดสอบการไม่นำไฟฟ้าของสาร Pyrogen
โดย Testing&Certification Australia,

ผลการทดสอบความเข้มข้นของสารที่ใช้ในการดับเพลิง
โดย Work Cover Authority Australia และ Scientific Services Laboratory Autralia

สรุป
- ไพโรเจนเหมาะสำหรับการป้องกันในห้องสมุดพิพิธภัณฑ์หรือพื้นที่อื่น ๆ ที่น้ำหรือสารเคมีอื่น ๆ 
จะทำอุปกรณ์หรือของ, สิ่งประดิษฐ์,โบราณวัตถุทำให้เกิดความเสียหายจากการดับเพลิง
- ไพโรเจนในบทความไม่ใช้ชือสารเคมีหรือผลิตภัณฑ์ยาที่ไว้รักษาโรคแต่เป็นชื่อของอุปกรณ์ดับเพลิง



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น